อาชีพท้องถิ่นอยู่รอดหรือไม่ หากมีโรงไฟฟ้าถ่านหิน
“นิสิตนักศึกษา” คุยกับ “รศ.ดร.เรณู เวชรัชต์พิมล” ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าหากมีการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินขึ้นที่ ต.ปากบาง อ.เทพา จะมีผลกระทบต่ออาชีพของคนในพื้นที่อย่างไรบ้าง
พื้นที่ความคิด
“นิสิตนักศึกษา” คุยกับ “รศ.ดร.เรณู เวชรัชต์พิมล” ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าหากมีการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินขึ้นที่ ต.ปากบาง อ.เทพา จะมีผลกระทบต่ออาชีพของคนในพื้นที่อย่างไรบ้าง
“นิสิตนักศึกษา” คุยกับ สุภาภรณ์ มาลัยลอย ผู้จัดการมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม (EnLaw) ว่าโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ของรัฐมีขั้นตอนอย่างไรบ้าง โดยเฉพาะโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพาที่มีกำลังผลิต 2,200 เมกะวัตต์ ซึ่งถือเป็นโครงการขนาดใหญ่ ดังนั้น สุภาภรณ์จึงเห็นว่าการพิจารณาโครงการต้องมีขั้นตอนที่พิจารณาอย่างรอบคอบและเปิดให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมทุกขั้นตอน
งานวิจัยของกรีนพีซเรื่อง “ต้นทุนชีวิต: โรงไฟฟ้าถ่านหินกับภัยคุกคามต่อสุขภาพของคนไทย” เมื่อปี 2558 ซึ่งนำผลการวิจัยของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐฯ ที่ศึกษาผลกระทบของโรงไฟฟ้าถ่านหินต่อสุขภาพของคนในอินโดนีเซียมาวิเคราะห์กับกรณีโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่และมาบตาพุด พบว่า โรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศไทยเป็นสาเหตุให้คนไทยเสียชีวิตประมาณ 1,550 คนต่อปี และอาจพุ่งสูงถึง 5,300 คนต่อปีหากยังมีโครงการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินต่อไป งานวิจัยพบว่า โรงไฟฟ้าถ่านหินปล่อยสารพิษ ต่อไปนี้ รศ.ดร.เรณู เวชรัชต์พิมลContinue Reading
พูดคุยกับดิเรก เหมนคร หนึ่งในผู้ชุมนุมเรียกร้องให้รัฐบาลยุติโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหิน ว่าทำไมจึงยอมอดอาหาร และชาวบ้านจะเดือดร้อนอย่างไรหากโครงการฯ ยังเดินหน้าต่อ
ตัวแทนกลุ่มเครือข่ายต่อต้านไม่เอาโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่-เทพาเข้าพบองค์การสหประชาชาติและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หารือประเด็นผลกระทบระยะยาว ย้ำทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องควรร่วมจัดเวทีพูดคุยเพื่อหาทางออก