ไฟป่าภาคเหนือ: เมื่อมาตรการภาครัฐ สวนทางกับวิถีชุมชน
ชาวปกาเกอะญอแห่ง อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ถ่ายทอดภูมิปัญญาและเล่าประสบการณ์การจัดการไฟและรับมือกับไฟป่า โต้ข้อกล่าวหาว่าเป็นต้นเหตุไฟป่าและวิกฤติฝุ่นควันในภาคเหนือ
ชาวปกาเกอะญอแห่ง อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ ถ่ายทอดภูมิปัญญาและเล่าประสบการณ์การจัดการไฟและรับมือกับไฟป่า โต้ข้อกล่าวหาว่าเป็นต้นเหตุไฟป่าและวิกฤติฝุ่นควันในภาคเหนือ
นิสิตนักศึกษา คุยกับ นันทวัน หาญดี ผู้ประสานงานกลุ่มเกษตรอินทรีย์ อำเภอสนามชัยเขต อดีตอาสาสมัครจากมูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคมรุ่นที่เจ็ด ผู้เข้ามาทำงานกับกลุ่มผู้หญิงของกลุ่มเกษตรอินทรีย์ฯ ตั้งแต่ปี 2528 ถึงเรื่องพัฒนาการของกลุ่ม และความคิดเห็นต่อโครงการ EEC ซึ่งจะกินพื้นที่มาถึงอำเภอสนามชัยเขตด้วย
“นิสิตนักศึกษา” คุยกับ “รศ.ดร.เรณู เวชรัชต์พิมล” ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ว่าหากมีการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินขึ้นที่ ต.ปากบาง อ.เทพา จะมีผลกระทบต่ออาชีพของคนในพื้นที่อย่างไรบ้าง
“นิสิตนักศึกษา” คุยกับ สุภาภรณ์ มาลัยลอย ผู้จัดการมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม (EnLaw) ว่าโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ของรัฐมีขั้นตอนอย่างไรบ้าง โดยเฉพาะโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพาที่มีกำลังผลิต 2,200 เมกะวัตต์ ซึ่งถือเป็นโครงการขนาดใหญ่ ดังนั้น สุภาภรณ์จึงเห็นว่าการพิจารณาโครงการต้องมีขั้นตอนที่พิจารณาอย่างรอบคอบและเปิดให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมทุกขั้นตอน
พูดคุยกับ คุ้มเกล้า ส่งสมบูรณ์ ทนายความจากศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน ที่เชี่ยวชาญประเด็นกฎหมายแรงงาน ถึงสิทธิด้าน “การพัก” ของแม่บ้านในสถานศึกษา และช่องโหว่ทางกฎหมายที่ไม่เอื้อแม่บ้านได้พักตามเจตนารมณ์ที่แท้จริงของกฎหมาย