Author: Sirarom Techasriamornrat

บรรณาธิการเนื้อหา หนังสือพิมพ์นิสิตนักศึกษา 2560 / Nitade Chula 50 / Hair do
Community

ผังเมืองแปดริ้ว เมื่อฝันทลายใต้มือ คสช.

ถ้าหากผังเมืองแปดริ้วเป็นคน กว่าจะเดินหน้ามาจนถึงวันที่มีการประกาศใช้ผังเมืองรวมจังหวัดฉะเชิงเทราอย่างเป็นทางการก็นับว่าเดินทางมาไกลโข ส่วนหนึ่งเป็นเพราะได้แรงกายแรงใจของเพื่อนร่วมทางอย่างประชาชนชาวแปดริ้วที่ร่วมกันกำหนดทิศทางผังเมืองเพื่อวางแผนอนาคตของจังหวัด ทั้งยังได้อาศัยความร่วมมือจากเครือข่ายต่างๆ ในภาคตะวันออก อาทิ เครือข่ายเพื่อนตะวันออก วาระเปลี่ยนตะวันออก เครือข่าย Land Watch แต่เมื่อผังเมืองแปดริ้วเดินทางใกล้ถึงความสำเร็จอย่างที่ตั้งใจ ก็มาถึงทางตันซะก่อน เมื่อปะทะเข้ากับยักษ์ใหญ่ที่มาแรงสุดๆ ในวินาทีนี้อย่างโครงการ EEC

Interview Top Stories

ต้าร์ ณภัทร : จากเด็กขี้อายที่อยากผจญภัยสู่เส้นทางช่างภาพอนุรักษ์พะยูน

“ถ่ายภาพพะยูนไทยจากใต้น้ำ” คือ เป้าหมายที่ท้าทายที่สุดสำหรับ ต้าร์ ณภัทร เวชชศาสตร์ นิสิตเอกภาพยนตร์และภาพนิ่ง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำหรับการทำผลงานชิ้นสุดท้ายในฐานะนิสิต แรกเริ่มอาจจะเป็นเพราะความอยากผจญภัย แต่สุดท้ายบทเรียนที่ทั้งหวานและขมมีอะไรมากมายกว่าที่คิด

Community

ไขข้อข้องใจ “ทำไมไม่ต้องเทพาก็ได้?”

จากแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าประเทศไทย พ.ศ.2557-2579 (PDP2015) กำหนดให้มีการเพิ่มกำลังการผลิตไฟฟ้าในภาคใต้ ด้วยโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพา กำลังการผลิต 1,000 เมกะวัตต์ 2 โรง เป็นเหตุให้ชาวบ้านอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ต้องกลายเป็นผู้แบกรับความหวังด้านความมั่นคงทางพลังงานของประเทศ เหตุผลมากมายชี้มาว่าต้องเป็นเทพา แต่จริงๆ แล้วยังมีอีกหลายเหตุผลที่บอกว่า “ไม่ต้องเทพาก็ได้”

Community

เรื่องราวของถ่านหิน : ถ่านหินคืออะไรและเทคโนโลยีถ่านหินสะอาดมีจริงหรือ?

ผู้คนมากมายเกลียดถ่านหิน แต่ผู้คนมากมายก็รักถ่านหิน จริงๆ แล้วสสารที่เกิดจากการตกตะกอนนับล้านปีนี้คืออะไรกันแน่ หน้าตาเป็นแบบไหน มีกี่ประเภทแล้วแตกต่างกันยังไง ทำไมโรงไฟฟ้าแม่เมาะในอดีตถึงเผชิญกับปัญหามลพิษ และเทคโนโลยีถ่านหินสะอาดเป็นเพียงวาทกรรมหรือสะอาดจริงๆ

Community

ชำแหละ PDP2015 แผนเจ้าปัญหาที่กุมชะตาโรงไฟฟ้าถ่านหิน

ท่ามกลางความขัดแย้งของปัญหาการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน หนึ่งในประเด็นที่ถูกหยิบยกมาพูดหลายครั้งคือ “ความมั่นคงทางพลังงาน” ไม่ว่าจะในประเด็นไฟฟ้าไม่พอจริงหรือไม่ ประเทศไทยต้องการไฟฟ้าอีกเท่าไร และใครต้องเป็นผู้รับโชคได้โรงไฟฟ้าไปตั้งอยู่ใกล้บ้าน แท้จริงแล้วนั้นจุดเริ่มต้นของเรื่องราวทั้งหมดคือ แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ.2558-2579 หรือ แผน PDP2015  นิสิตนักศึกษาจะพาไปไขข้อสงสัย คลายข้อข้องใจเพื่อให้เรารู้เท่ากันว่าอะไรคือ PDP2015